Swanson Condition Specific Formulas Kidney Essentials 60 Caps

อาหารเสริมบำรุงไต สูตรผสมผสานที่ลงตัวของวิตามินและสมุนไพรธรรมชาติ เพื่อสุขภาพไตที่ดีของคุณ

ราคา: 490 บาท

สูตรพิเศษผสมผสานที่ลงตัวของวิตามินและสมุนไพรธรรมชาติ อาทิ วิตามินซี วิตามินบีรวม แครนเบอร์รี่, จูปิเตอร์เบอร์รี่ Corn Silk และ Uva Ursi และอื่นๆ เพื่อสุขภาพไตที่ดีของคุณ ช่วยให้ไตทำงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ลดปัญหาที่จะเกิดเกี่ยวกับไต และยังช่วยให้ไตของเรามีอายุยืนยาวร่างกายแข็งแรง
• ช่วยบำรุงสุขภาพไตและทางเดินปัสสาวะ
• สูตรพิเศษที่ผสมผสานกันอย่างลงตัว ของวิตามินและสมุนไพรธรรมชาติ

วิธีรับประทาน: ครั้งละ 1 เม็ด พร้อมอาหาร วันละ 1-2 เวลา

Code: SWC101

Swanson Condition Specific Formulas Kidney Essentials 60 Caps
  • Helps maintain strong kidneys and a healthy urinary tract
  • Combines a balanced selection of essential vitamins with nature's most effective herbs
  • Timed-release formula features potassium, cranberry, B-complex vitamins and more

Product Description:

Kidney Essentials

"It has made a major difference in how I feel and how my whole urinary tract feels and functions." ~product review by Catro
Strong kidneys and a healthy urinary tract are essential for disposing of bodily wastes. Support this vital system with Swanson Kidney Essentials. This unique timed-release formula includes potassium, an electrolyte mineral that helps maintain healthy fluid levels; cranberry, one of nature's best allies for a healthy urinary tract; and many more nutrients including vitamin C, B-complex vitamins, juniper berries, cornsilk, and uva ursi.

Product Label:

Kidney Essentials

Supplement Facts

Serving Size 1 Capsule
Amount Per Serving%Daily Value
Vitamin C USP (as ascorbic acid)50 mg83%
Thiamin USP (as thiamin HCl) (vitamin B-1)12.5 mg833%
Riboflavin USP (vitamin B-2)12.5 mg735%
Niacinamide USP12.5 mg63%
Vitamin B-6 USP (as pyridoxine HCl)12.5 mg625%
Folic Acid USP100 mcg25%
Vitamin B-12 USP (as cyanocobalamin)100 mcg1,667%
Biotin USP12.5 mcg4%
Pantothenic Acid USP (as d-calcium pantothenate)12.5 mg125%
Potassium (from potassium gluconate and potassium chloride)99 mg3%
Cranberry Extract (10:1 concentrate)200 mg*
Juniper Berry50 mg*
Corn Silk25 mg*
Uva Ursi25 mg*
Choline FCC (from choline bitartrate)12.5 mg*
Inositol FCC12.5 mg*
PABA USP (para-aminobenzoic acid)12.5 mg*
Percent Daily Values are based on a 2,000 calorie diet.
*Daily Value not established.
Other ingredients: Gelatin, magnesium stearate.
Suggested use: As a dietary supplement, take one capsule one to two times per day with water.
WARNING: Contains uva ursi. Do not take this product if you are pregnant or nursing or if you have renal disease or digestive problems.

อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง


ผู้ป่วยโรคไตมักจะได้ยินคำแนะนำจากแพทย์เกี่ยวกับเรื่องอาหารว่า
  • หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็ม มีเกลือสูง
  • ให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนต่ำ
  • ควบคุมปริมาณน้ำในร่างกาย
ทั้งนี้ก็เพื่อควบคุมระดับ electrolyte, เกลือแร่ และของเหลวภายในร่างกายผู้ป่วยโรคไต ให้อยู่ในภาวะสมดุล โดยผู้ป่วยที่ต้องทำ dialysis จำเป็นต้องควบคุมอาหารเป็นพิเศษเพื่อไม่ให้ร่างกายสร้างของเสียมากเกินไป และผู้ป่วยที่ทำ dialysis ส่วนใหญ่จะปัสสาวะน้อยมาก ทำให้เกิดการสะสมของน้ำและของเหลวที่หัวใจ ปอดและข้อเท้า
ผู้ป่วยโรคไตควรปรึกษาเรื่องอาหารกับแพทย์และนักโภชนาการ เพราะปริมาณอาหารและพลังงานที่ได้รับต้องเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการสลายเอาเนื้อเยื่อของร่างกายมาใช้ทนแทน
อาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล (carbohydrates): เป็นแหล่งของพลังงานที่ดี แต่ในผู้ป่วยที่มีภาวะอ้วนหรือเป็นโรคเบาหวาน ควรจำกัดอาหารกลุ่มนี้
ไขมัน (fats): ไขมันก็อาจจะเป็นแหล่งพลังงานที่ดีได้เช่นกัน แต่ต้องเป็นไขมันที่ไม่อิ่มตัว เช่น น้ำมันมะกอก น้ำมันดอกคำฝอย เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
โปรตีน (proteins): ก่อนที่จะเริ่มทำ dialysis แพทย์มักแนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนต่ำ ประมาณหนึ่งกรัมต่อน้ำหนักตัวหนึ่งกิโลกรัมต่อวัน อาหารแหล่งโปรตีนที่แนะนำคือ เนื้อปลา หมู สัตว์ปีกและไข่ ในระหว่างที่ทำ dialysis ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูงทุกวัน (ประมาณ 8-10 ออนซ์ต่อวัน)
แคลเซียมและฟอสฟอรัส: ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะแรกจะมีระดับฟอสฟอรัสในเลือดสูงส่งผลให้ระดับ แคลเซียมในเลือดต่ำลง ร่างกายต้องดึงเอาแคลเซียมในกระดูกออกมา
อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง เช่น นม, โยเกิร์ต, และชีส อาหารที่มีฟอสฟอรัสต่ำ เช่น มาการีนและ เนย
ผักและผลไม้ส่วนใหญ่มีปริมาณฟอสฟอรัสต่ำ แต่ต้องระวังเพราะมีปริมาณโพแทสเซียมสูง
บางครั้งอาจต้องได้รับแคลเซียมเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรคกระดูก และวิตามินดีเพื่อปรับสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัสให้เหมาะสม หรืออาจจะต้องควบคุมปริมาณฟอสฟอรัสด้วยการกินยาที่ไปจับกับ ฟอสฟอรัส(phosphorous binders)
ปริมาณของเหลว (Fluids): ผู้ป่วยโรคไตในระยะแรกๆอาจจะยังไม่ต้องกังวลกับการได้รับน้ำหรือของเหลวมาก นักแต่เมื่อใดก็ตามที่ไตเริ่มมีปัญหามากขึ้นหรืออยู่ระหว่างการทำ dialysis จำเป็นจะต้องควบคุมปริมาณน้ำและของเหลวให้เหมาะสม
อาหารที่มีปริมาณน้ำมากที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น ซุป, ไอศกรีม, องุ่น, มะเขือเทศ และผักกาดหอม

ข้อแนะนำที่จะทำให้กระหายน้ำน้อยลง
  • หลีกเลี่ยงการรับประทานเกลือ
  • นำน้ำผลไม้แช่แข็งแล้วรับประทานเหมือนไอศกรีม แต่ต้องควบคุมปริมาณการรับประทานในแต่ละวันด้วย
  • อยู่ในสถานที่ที่ไม่ร้อนจนเกินไป
โพแทสเซียม: ระดับโพแทสเซียมในเลือดจะส่งผลต่อการเต้นของหัวใจ ผู้ป่วยโรคไตมักจะมีปริมาณโพแทสเซียมสูง ซึ่งเป็นอันตรายต่อระบบหัวใจและอาจเสียชีวิตได้ จึงต้องควบคุมปริมาณโพแทสเซียม ด้วยการหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโพแทสเซียมสูงซึ่งมักจะเป็นผักและผลไม้
ผลไม้ที่มีโพแทสเซียมต่ำ เช่น องุ่น, ลูกแพร์, เชอร์รี่, แอปเปิล, สัปปะรด, และแตงโม ควรหลีกเลี่ยงผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น ส้ม, กีวี, กล้วย, แคนตาลูป, ลูกเกด และ ลูกพรุน
ผักที่มีโพแทสเซียมต่ำ เช่น บรอคโคลี, กะหล่ำปลี, แครอท, ผักกาดหอม, หอม และ พริกไทย ผักที่มีโพแทสเซียมสูงควรหลีกเลี่ยง เช่น หน่อไม้ฝรั่ง, อโวคาโด, มะเขือเทศหรือซอสมะเขือเทศ, ฟักทอง และ ผักขม
เหล็ก: ผู้ป่วยไตวายอาจจะมีภาวะซีด(anemia) ร่วมด้วยจึงต้องได้รับธาตุเหล็กให้เพียงพอ อาหารที่มีธาตุเหล็กสูงเช่น ตับ, เนื้อวัว, เนื้อหมู, เนื้อไก่ และถั่วแดง
อย่างไรก็ตามในผู้ป่วยแต่ละคนจะมีภาวะทางโภชนาการไม่เหมือนกัน ที่กล่าวมาทั้งหมดเป็นเพียงแนวทางในการควบคุมอาหารเท่านั้น ผู้ป่วยต้องขอคำแนะนำจากแพทย์และนักโภชนาการด้วย

Reference: U.S. National Library of Medicine, NIHNational Institutes of Health. MedlinePlus : Diet-chronic kidney disease



บัญญัติ 8 ประการเพื่อสุขภาพของตับและไตที่ดี
สำหรับผู้ห่วงใยในสุขภาพที่ดีของตับในร่างกาย การพักผ่อนที่เพียงพอและการนอนหลับที่ดีเป็นสิ่งที่สำคัญ ถ้าหากคุณยังมีปัญหาในการนอนหลับ
พิษและของเสียที่อยู่ในร่างกายย่อมจะสะสมและเป็นปัญหาต่อสุขภาพและอารมณ์ของคุณเอง

สาเหตุหลักที่ทำลายตับของคุณคือ
  1. นอนดึกและตื่นสายเป็นต้นเหตุลำดับต้น ๆ
  2. การไม่ปัสสาวะในตอนเช้า
  3. ทานจุเป็นประจำ
  4. ไม่รับประทานอาหารเช้า
  5. บริโภคยามากเกินไป
  6. บริโภคอาหารที่มีส่วนผสมของวัตถุกันเสีย สีผสมอาหาร วัตถุปรุงแต่ง และน้ำตาลเทียม
  7. บริโภคน้ำมันที่ใช้ทำอาหารซึ่งด้อยคุณภาพและไม่เป็นประโยชน์ ถ้าหากคุณสามารถลดปริมาณการใช้น้ำมันในการทอดอาหารซึ่งรวมถึงการใช้น้ำมัน ที่ดีที่สุดที่ใช้ทำอาหารเช่นน้ำมันมะกอก จงหลีกเลี่ยงการบริโภคของทอดเมื่อคุณมีอาการเหน็ดเหนื่อยอ่อนเพลีย ยกเว้นถ้าหากร่างกายคุณฟิต
  8. บริโภคอาหารที่ผ่านการปรุงมากเกินไปย่อมสร้างภาระแก่ตับ ผักควรทานสด ๆ หรือผ่านการทำให้สุกเพียง 3-5 ส่วน ผักที่ผ่านการผัดควรจะบริโภคให้หมดในมื้อเดียว อย่าเก็บไว้ทานในมื้ออื่น ๆ
เราจะต้องพยายามปรับวิถีการดำเนินชีวิตโดยเฉพาะนิสัยการกิน การปลูกฝังนิสัยการกินที่ดีและดูแลปัจจัยเรื่องเวลาเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ ร่างกายของเราได้รับประโยชน์และสามารถกำจัดสารที่ไม่เป็นประโยชน์ในร่างกาย ตามตารางเวลาที่ควรจะเป็น เพราะ…
บัญญัติ 8 ประการเพื่อสุขภาพของตับและไตที่ดีช่วงเวลากลางคืน 3 ทุ่ม - 5 ทุ่ม: เป็น ระยะเวลาที่ร่างกายจะกำจัดสารพิษต่าง ๆ โดยระบบต่อต้านเชื้อโรคในร่างกาย ( ระบบหมุนเวียนของน้ำเหลืองในร่างกาย) ช่วงเวลานี้ควรจะต้องถูกใช้ไปในการพักผ่อนหรือผ่อนคลายด้วยการฟังดนตรี ถ้าหากช่วงเวลานี้แม่บ้านยังคงวุ่นอยู่กับงานบ้านเช่นล้างจานหรือดูและเด็ก ให้ทำการบ้าน เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะเป็นผลลบต่อร่างกาย
ช่วงเวลากลางคืน 5 ทุ่ม - ตี 1: กระบวนการกำจัดสารพิษ ในตับ และแน่นอนควรจะต้องอยู่ในช่วงการนอนหลับสนิท ในช่วงเช้าระหว่างเวลาตี 1 ถึง ตี 3 นั้น กระบวนการกำจัดสารพิษในน้ำดีก็ควรจะเป็นช่วงแห่งการนอนหลับสนิทเช่นกัน
ช่วงเวลาตี 1 - ตี 3: การกำจัดสารพิษในปอด เพราะฉนั้นอาจจะมีอาการไออย่างรุนแรงสำหรับผู้ที่มีปัญหาการไอในช่วงเวลาดัง กล่าว ตอนนี้กระบวนการกำจัดสารพิษจะเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจแล้ว และก็ไม่จำเป็นที่คุณจะใช้ยาแก้ไอเพื่อที่จะได้ไม่ไปขัดขวางขั้นตอนการกำจัด สารพิษในร่างกาย
ช่วงเช้า ตี 5 - 7 โมงเช้า: การกำจัดสารพิษในปลายลำไส้ใหญ่ ก็ถึงเวลาที่จะต้องทำให้พุงและลำไส้ของคุณว่างลง
ช่วงเช้า 7 - 9 โมงเช้า: การดูดซึมสารอาหารสู่ลำไส้ เล็ก คุณควรจะต้องทานอาหารเช้าในช่วงเวลานี้ อาหารเช้าควรจะก่อน 6.30 น. สำหรับผู้ป่วย อาหารเช้าที่ทานก่อน 7.30 น. นั้นดีต่อผู้ที่ต้องการมีร่างกายสุขภาพแข็งแรงอยู่เสมอ ผู้ใดที่ไม่ทานอาหารเช้าตลอดเวลาควรจะต้องรีบเปลี่ยนพฤติกรรมนี้เสีย และการทานอาหารเช้าในช่วงสายตั้งแต่ 9 - 10 น. ก็ยังดีกว่าไม่มีอะไรลงไปในท้องเลย การนอนดึกตื่นสายนั้นเป็นปัญหาต่อกระบวนการทำลายของเสียในร่างหาย นอกจากนั้นช่วงเที่ยงคืนถึงตี 4 ก็ยังเป็นเวลาที่ร่างกายผลิตเลือด เพราะฉะนั้น อย่านอนดึกและอย่านอนตื่นสาย

ผลตอบรับจากผู้ใช้:
1. "as we get older we need to support our organs a little better, when we were younger some of us, ate and drink like its going out of style, but as we get older get test result from doctor, its wake up call to help support your organ."
2. "I recently added this supplement to my combo of pills. It has made a major difference in how I feel and how my whole urinary tract feels and functions. I had been taking some of the ingredients in other forms and dosages, but this seems to be the magic formula for me."
3. This supplement contains the most recommended nutrients for kidney health."
4. "I have been taking Swanson's Kidney Essentials for several years and believe it has made a difference in my kidney health. Our kidneys filter a lot of toxic chemicals, that are found in our food. This product helps keep it strong, so the kidneys can do their job, filtering those chemicals"




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Swanson Superior Herbs Saw Palmetto – 320 mg 60 Sgels

Swanson Premium Glucosamine Chondroitin & MSM - Higher Strength/ 120 Tabs

Puritan's Pride Probiotic 10-20 billion with vitamin D/ 60 Capsules